พาเลทเหล็กปิดแผ่นพลาสติก
SIZE : 4 MODEL
SINGLE DECK : 4 WAY ENTRY
USAGE : HANDLIFT & FORKLIFT
WEIGHT : 26.5 (+-2) KGS.
DYNAMIC LOAD : 2,000 KGS.
STATIC LOAD : 8,000 KGS.
RACKING LODA : 1,500 KGS.
MATERIAL : HDPE/PP/STEEL
คุณสมบัติ และส่วนประกอบ ของพาเลทเหล็ก IRON PLAS PALLET
ภาพที่ 1 ) ภาพมุมมองคำานบน TOP VIEW ภาพมุมมองคำานบน TOP VIEW แสคงให้เห็น ถึงคุณสมบัติ ขอคื ของหาเลทเหล็ก STEEL PALLET ที่มีเล่น ค้านบน ครอบล้วย พลาสติกระบบฉีค INJECTION MOLDING ทำให้พื้นผิวค้านบนเรียบ สามารถวางสินค้า ได้สะควก ไม่ลื่น ไม่เกิดแรงกล เฉพาะจุค ทำให้สินค้าเสียหาย และยังช่วยประหยัดใครงสร้างเหล็ก ให้ใช้น้อยลง ส่งผลถึงต้นทุนการผลิตที่ถูกลง และ น้ำหนักตัว PALLET ที่เบาลง
ภาพที่ 2 ) ภาพมุมมองค้านล่าง BOTTOM VIEW แสดงให้เห็นถึง ลักษณะโครงสร้าง ค้านใต้ PALLET ที่ประกอบไปด้ายโครงสร้าง เหล็ก ขนาล 2 นิ้ว X เนิ้ว ที่เชื่อมต่อกัน ทำให้สามารถรับแรงยก โดย FOLK LIFT และ HAND LIFT ไส้ทั้ง 4 ค้าน
ภาพที่ 3.1 ) พลาสติก ครอบบน PLASTIC UPPER เป็นพลาสติก ชนิด PP ( POLYPROPYLENE ) หรือ HDPE ( HIGH DENSITY POLYETHYLENE ) ที่ขึ้นรูปคัวยะบบ ฉีด INJECTION MOLDING ทำให้สามารถออกแบบให้มี เส้นกระลูก เพื่อรับแรงแนวตั้งได้ ดีกว่าแผ่น SHEET พลาสติกทั่วๆไป และยังสามารถ ออกแบบให้มี จุคใส่ลูกยางกันลื่น ทั้งค้านบน และค้านล่าง ช่วยให้สินค้าไม่ลื่นไถล และช่วยให้ PALLET ยึคเกาะกับ งารถ FOLK LIPT เวลายกหรือวิ่ง และยังช่วยให้ไม่เกิดอันตราย ต่อผู้ปฏิบัติงานจากความคมของเหด็ก
ภาพที่ 3.2 ) โครงสร้างหลักของพาเกทเหล็ก STEEL PALLET ขึ้นรูปด้วยวิธีการเชื่อม ด้วยเหล็ก ขนาด 2 นิ้ว X 1 นิ้ว ความหน้า 1 มิลลิเมตร ถึง เ.5 มิลลิเมตร ขึ้นอยู่กับการรับน้ำหนัก สินค้าที่ต้องการ ) โคยใช้ เหล็ก ชนิด พิเศษ ZAM ที่มีคุณสมบัติต้านการกัดกร่อน มากกว่า เหล็กจุ่มร้อนด้วยสังกะสือย่างเดียว ถึง 10 -20 เท่า ข้อคีของการใช้เหล็กเป็นโครงสร้างหลักตรงกลาง เพื่อช่วยในการรับน้ำหนัก และ ป้องกันการเสียหายจากงารถ FOLK LIFT ที่มาดันหรือทิ่มแทง ตัว PALLET
ภาพที่ 3.3 ) ขาพลาสติก ครอบล่าง PLASTIC LOWER เป็นพลาสติก ชนิค PP ( POLYPROPYLENE ) หรือ HDPE ( HIGH DENSITY POLYETHYLENE ) ที่ขึ้นรูป วยระบบ ฉีด INJECTION MOLDING ทำให้ลามารถ ออกแบบให้มี เส้นกระดูก เพื่อรับแรงแนวตั้ง ได้ดีกว่าแผ่น SHEET พลาสติกทั่วๆไป และยังสามารถ ออกแบบให้มี จุด ใส่ลูกยาง กันลื่น ค้านล่าง ช่วยให้สินค้าไม่ลื่นไถล เวลา วาง บนชั้นเหล็ก RACKING หรือพื้นที่เอียงลาค รวมถึง ขาที่เป็นพลาสดิก ยังช่วยให้ เหล็กไม่ไป ขคขีคกับพื้น โกคังหรือโรงงาน ให้เกิด ความเสียหายได้ และยังช่วยให้ไม่เกิดอันตราย ต่อผู้ปฏิบัติงาน จากความคม ของเหล็ก
ภาพที่ 4 ) ภาพแสดงตำแหน่งลูกยางกันลื่นด้านใด้
ภาพที่ 4.1 ) ตำแหน่งใส่ลูกยางกันลื่นใต้ช่องเสียบงา สามารถใส่ได้ สูงสุด 16 ถูก เป็นลูกยางชนิดกลม ผลิตจาก ยางธรรมชาติ RUBBER หรือ ยางสังเคราะห์ ELASTOMER ช่วยให้เวลายกโดยรถ FOLK LIFT ไม่ลื่นไถล
ภาพที่ 4.2 ) ตำแหน่งใส่ลูกยางกันลื่นใต้ขา สามารถใส่สูงสุด ขาละ 10 ลูก รวม 3 ขา 30 ถูก เป็นลูกยางชนิดเหลี่ยม ผลิตจาก ยางธรรมชาติ RUBBER หรือยางสังเคราะห์ ELASTOMER ช่วยให้เวลา PALLET วางอยู่บน ชั้นเหล็ก RACKING ไม่ลื่นตก หรือเวลาวาง PALLET บนพื้นที่เอียงลาด ไม่ลื่นไหล